A SECRET WEAPON FOR ประเทศไทยมีโอกาสล้มละลายไหม

A Secret Weapon For ประเทศไทยมีโอกาสล้มละลายไหม

A Secret Weapon For ประเทศไทยมีโอกาสล้มละลายไหม

Blog Article

“ปกติเราจะประมูลงาน พอเราเริ่มทำงาน ทุกเดือนเราจะต้องเบิกเงินค่างวดงาน ถ้ามันล่าช้าหรือเราไม่มีโครงการใหม่ สมมติมีโครงการนึงที่กำลังจะเสร็จ แล้วงานใหม่ยังไม่มี อันนี้จะขาดสภาพคล่องแล้ว เพราะเรายังมีต้นทุนเรื่องค่าจ้างคนงานที่เราต้องจ้างไปเรื่อย ๆ งานก่อสร้างมันจะต้องมีรายได้เข้ามาทุกเดือน เพราะเรามีต้นทุนอยู่ตลอดเวลาอยู่แล้ว” นายกสมาคมอุตสาหกรรมก่อสร้างไทยฯ ระบุ

แต่สงครามก็ทำให้ศรีลังกาบอบช้ำพอสมควร และหันไปกู้เงินโดยเฉพาะจากจีนเพื่อมาพัฒนาประเทศทั้งสร้างท่าเรือยักษ์และสนามบิน ซึ่งก็ทำให้หนี้ของประเทศเริ่มสูงขึ้นเรื่อยๆ

ซึ่งเป็นโครงการที่จะระดมทุนมาสร้างท่าเรือในประเทศต่างๆ พูดง่ายๆ ก็คือเป็นการแข่งขันกับจีน นี่ก็เป็นส่วนหนึ่งของตัวอย่างหมากรุกทางการเมือง ระหว่างจีน สหรัฐอเมริกา และประเทศตะวันตกครับ

ประกันสังคมไทยยังมีโอกาสในการพัฒนาด้านเงินสมทบและการลงทุนให้ดีขึ้น โดยยึดมั่นความมั่นคงระยะยาว

ในแง่กระบวนการตรวจสอบ อย่างสหรัฐอเมริกาจะมีการตรวจสอบว่า ลูกหนี้มีรายได้ต่อเดือน ณ ขณะที่ยื่นคำร้องเป็นจำนวนเท่าไหร่ ด้วยความที่สหรัฐหรือประเทศต่างๆ มีการจัดเก็บข้อมูลด้านรายได้ ค่าครองชีพ อย่างเป็นระบบ ทำให้เขาสามารถประเมินความน่าเชื่อถือได้ หรือมีข้อมูลที่แม่นยำสูงว่าลูกหนี้คนนี้สามารถชำระหนี้ได้บางส่วน หรือไม่สามารถชำระหนี้ได้แล้ว ในประเทศไทย ระบบเหล่านี้มีการพัฒนาไปสู่ระบบออนไลน์ ซึ่งสามารถตรวจสอบได้ไม่ยาก ไม่เสียเวลา และค่าใช้จ่ายไม่สูงมากนัก ดังนั้นในประเด็นเรื่องข้อพึงระวังว่าจะเป็นช่องทางในการใช้กฎหมายโดยมิชอบนั้น เราสามารถใช้กระบวนการในการตรวจสอบรายได้และทรัพย์สินของลูกหนี้ได้ และเมื่อตรวจสอบแล้ว ทุกฝ่ายจะต้องยุติข้อสงสัย ตรงนี้จะเป็นจุดที่ทำให้กระบวนการฟื้นฟูหนี้สินของบุคคลธรรมดา หรือแม้กระทั่งกระบวนการล้มละลายที่เริ่มต้นด้วยความสมัครใจของบุคคลธรรมดา สามารถไปต่อได้ในประเทศไทย

ส่องอิทธิพล "ชุดผ้าไทย" ผ่านพระราชกรณียกิจต่างแดนของสมเด็จพระบรมราชชนนีพันปีหลวงจากยุคสยามสู่ปัจจุบัน

หรือเมืองไทยจะกลายเป็น ‘เซฟเฮาส์โลก’ ชาวเมียนมาแห่ซื้อคอนโดฯ ในไทย สะท้อนอะไร ?

ลาวจ่อถังแตก หนี้ต่างชาติสูง จะไปต่อได้หรือไม่ ?

กฎหมายล้มละลายของไทยมีทางเลือกอะไรให้กับลูกหนี้บ้าง คำตอบสำหรับลูกหนี้ที่เป็นนิติบุคคลคือ หากไม่เข้าสู่กระบวนการฟื้นฟูหนี้สิน ก็ต้องเข้าสู่กระบวนการล้มละลาย ต่างจากลูกหนี้บุคคลธรรมดาที่ทำได้เพียงรอวันเวลาที่จะถูกยึดทรัพย์สิน หรือไม่ก็ถูกลงโทษผ่านการฟ้องศาลจนตกเป็นบุคคลล้มละลาย

จับไอเดียใหม่ ๆ เปลี่ยนเป็นโอกาสอีกครั้ง

นั่นจึงเป็นที่มาของหลักการเริ่มต้นชีวิตใหม่ หรือหลัก ‘new get started’ แต่ก็ต้องทำความเข้าใจด้วยว่า ตามหลักสากลจะต้องไล่เลียงจากจุดแรกคือ เมื่อมีหนี้ก็ต้องชำระหนี้ ชำระหนี้ได้เท่าใดก็ต้องพยายามชำระหนี้ แต่ถ้าไม่ไหวก็จำเป็นต้องมีช่องทางให้ลูกหนี้หลุดพ้นเพื่อเริ่มต้นชีวิตใหม่ เพราะไม่มีประโยชน์อีกต่อไปที่จะค้นหาทรัพย์สินหรือคุมขังลูกหนี้ไว้ ในเมื่อการตรวจสอบของทุกฝ่ายเห็นตรงกันว่าลูกหนี้ไม่มีทรัพย์สินแล้ว ตรงนี้ก็คือหลักของการให้อภัย แนวคิดเช่นนี้เป็นแนวคิดของกระบวนการล้มละลายและการฟื้นฟูหนี้สินสมัยใหม่ที่มีงานวิจัยหลายๆ ส่วนระบุว่า การให้ลูกหนี้สมัครใจเข้าสู่กระบวนการฟื้นฟูหนี้สิน หรือแม้แต่เข้าสู่กระบวนการล้มละลาย สุดท้ายสังคมก็จะได้กิจการหรือบุคคลที่กลับมาเป็นฝ่ายผลิต เป็นผู้บริโภคอีกครั้ง เพราะฉะนั้นจึงขอยืนยันอีกครั้งว่า รูปแบบของการฟื้นฟูหนี้สินสำหรับบุคคลธรรมดาก็สามารถมีได้เช่นกัน

เอสซีบี เท็นเอกซ์ บจ. มันนิกซ์ บจ. คาร์ด เอกซ์ บจ. เอสซีบี เดต้า เอกซ์ บจ. ออโต้ เอกซ์ บจ. เอสซีบี เทคเอกซ์ ความช่วยเหลือ

บัตรเติมเงิน บัตรเดบิต ประเทศไทยมีโอกาสล้มละลายไหม บัตรเครดิต ลิงก์ที่เกี่ยวข้อง

ส่องอิทธิพล "ชุดผ้าไทย" ผ่านพระราชกรณียกิจต่างแดนของสมเด็จพระบรมราชชนนีพันปีหลวงจากยุคสยามสู่ปัจจุบัน

Report this page